|
1. แผนกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก(Registration) |
|
|
สามารถบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดของ
ชื่อ-นามสกุล,
ที่อยู่,
สิทธิการรักษาของคนไข้
สามารถ นำเข้า ฐานข้อมูลประชากร ของกระทรวงได้
สามารถบันทึกข้อมูลการแพ้ยาได้
มีระบบคลินิกพิเศษบันทึกผู้ป่วยเฉพาะโรคเรื้อรังเพื่อติดตามผล
สามารถค้นหาประวัติคนไข้เก่าโดยค้นหาจาก หมายเลข
HN, ชื่อ,
นามสกุล,ชื่อและนามสกุล
สามารถลงทะเบียนคนไข้ใหม่และออก
HN ให้โดยอัตโนมัติ
สามารถพิมพ์
OPD Card, บัตรประจำตัวคนไข้,
ใบตรวจรักษาต่างๆ ได้โดยไม่จำกัดรูปแบบ(สามารถแก้ไขได้)
ห้องบัตรสามารถส่งรายชื่อคนไข้ไปรอตรวจที่หน่วยต่างๆ
เช่น พยาบาลหน้าห้องตรวจ,
ห้องปฏิบัติการ
หรือส่งต่อไปตรวจเพิ่มเติมที่หน่วยบริการรับส่งต่อ
รวมถึงสามารถบันทึกข้อมูลการติดต่อหน่วยบริการเพื่อส่งต่อ
และรับกลับในกรณีที่หน่วยบริการส่งต่อ
ส่งผู้ป่วยพร้อมการวินิจฉัยโรค
และการรักษามาให้
สามารถทำรายงานตามที่กระทรวงกำหนด
โปรแกรมมีระบบช่วยค้นหารหัส
ICD-10 เพื่อลงได้ในเวลาที่รวดเร็ว
มีระบบโปรแกรมช่วยในการทำรายงานอื่นๆ
นอกจากรายงานหลักเพิ่มเติมได้ โดยใช้คำสั่ง
SQL
มีระบบค้นหาข้อมูลแบบ
Custom Search
สามารถเรียกดูข้อมูลการตรวจร่างกายเบื้องต้นได้
สามารถจัดคิวผู้ป่วยและส่งตามห้องตรวจได้
สามารถดึงผู้ป่วยกลับและสลับการส่งตามห้องตรวจต่างๆ ได้
สามารถต่อกับเครื่องจัดคิวอัตโนมัติได้
สามารถนัดหมายผู้ป่วยได้
สามารถบันทึกผู้ป่วยนอกเป็นผู้ป่วยในได้
สามารถส่งผู้ป่วยไปยังจุดบริการต่างๆ ได้
สามารถพิมพ์ใบนัดหมายผู้ป่วยได้
สามารถพิมพ์ใบรับรองแพทย์ได้
3.
แผนกห้องตรวจ
(Doctor Room) |
|
|
สามารถเรียกดูข้อมูลการตรวจร่างกายเบื้องต้นได้
สามารถสั่งตรวจผู้ป่วยได้
สามารถสั่งจ่ายยาได้
สามารถระบุตำแหน่งการรักษาของผู้ป่วยได้
สามารถบันทึกภาพการรักษาได้
สามารถเชื่อมต่อกับระบบซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลเครื่องเอกซ์เรย์ดิจิตอลได้
สามารถสั่งจ่ายยาแบบ
RE-MED ได้
สามารถสั่งจ่ายยาตามชุดที่กำหนดได้
สามารถบันทึกการวินิจฉัย
ทั้งในรูปแบบข้อความทั่วไป และในรูปของรหัสโรคและหัตถการได้
สามารถเรียกดูรายการสั่งตรวจย้อนหลังได้
สามารถเรียกดูรายการสั่งยาย้อนหลังได้
สามารถนัดหมายผู้ป่วยได้
สามารถบันทึกผู้ป่วยนอกเป็นผู้ป่วยในได้
สามารถส่งผู้ป่วยไปยังจุดบริการต่างๆ ได้
สามารถพิมพ์ใบนัดหมายผู้ป่วยได้
สามารถพิมพ์ใบรับรองแพทย์ได้
4. แผนกห้องฉุกเฉิน
(Emergency Room) |
|
|
มีระบบบันทึกข้อมูลอุบัติเหตุ เป็นไปตามมาตรฐานของ
กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
มีระบบรายงานข้อมูลอุบัติเหตุ ตามที่กระทรวงกำหนด
มีระบบบันทึกการทำงาน ณ ห้องฉุกเฉิน
ซึ่งสามารถลงทะเบียน ส่งตรวจ จ่ายยา วินิจฉัย ได้จากห้องฉุกเฉิน
มีระบบลงรายการหัตถการ และสรุปค่าใช้จ่าย ณ ห้องฉุกเฉิน
มีระบบรายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน ของห้องฉุกเฉิน
มีระบบลงทะเบียนรับผู้ป่วยใหม่
โดยแยกออกเป็นรายหอผู้ป่วยได้
มีระบบลงการทำหัตถการของผู้ป่วยใน
มีระบบการสั่งยาผู้ป่วยในไปยังห้องจ่ายยา
มีระบบการลงผลการวินิจฉัย ตามมาตรฐาน รหัส
ICD10
มีระบบคิดค่า
Relative Weight ตามระบบ DRGs
ในขั้นตอนการวินิจฉัย
มีระบบการจำหน่ายคนไข้ และสรุปค่าใช้จ่าย
ทั้งหมดของคนไข้
มีระบบรายงานตรงตามที่กระทรวงกำหนด
มีระบบการส่งออกข้อมูล
DRGs 12 แฟ้ม
มาตรฐาน
รองรับการบันทึกข้อมูลด้วยความสะดวก
และรวดเร็วโดยมีระบบการใช้
Hot Key ช่วยในการทำงาน
ระบบการสั่งยาโดย
key ได้ทั้ง Generic Name
และ Trade Name
การสั่งยาโดยการดึงข้อมูลจากประวัติการใช้ยาเดิม
การสั่งยาจากสูตรการสั่งยาที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน
ระบบการเก็บระยะเวลาในการให้บริการของห้องจ่ายยา
ระบบเตือนการสั่งยาซ้ำซ้อน
ระบบเตือนการสั่งรายการยาที่
Interaction
ระบบการสั่งยาผู้ป่วยใน รองรับการจัดยาแบบ
Unit Dose ,One Day Dose หรือ 3
Days Dose
7.
แผนกบริหารเวชภัณฑ์(STOCK) |
|
|
มีระบบการบันทึกบัญชียาของโรงพยาบาล
มีระบบการลงรายการเบิก-จ่าย ยาออกจากคลัง
มีระบบตรวจสอบ
Stock Card
ของยาแต่ละรายการ
มีระบบตรวจสอบรายการเวชภัณฑ์ที่เหลือน้อย และ
รายการที่ใกล้หมดอายุ
มีระบบรายงานยอดการใช้ยา
มีระบบออกใบเสนอสั่งซื้อ
มีระบบการพิมพ์
Stock-Card
8.
แผนกห้องชำระเงิน(FINANCE) |
|
|
เชื่อมโยงข้อมูลค่ารักษาพยาบาลจากหน้าห้องตรวจ
,ค่าตรวจปฏิบัติการจากห้อง Lab ,ค่าตรวจทางรังสี
, ระบบโทรศัพท์ หรือค่ารักษาพยาบาลจากแผนกอื่นๆ
มายังระบบการเงิน
เชื่อมโยงข้อมูลสิทธ์ในการรักษาจากระบบทะเบียน
มายังระบบงานการเงิน และแจ้งเตือนในกรณีที่สิทธ์หมดอายุ
มีระบบควบคุมและตรวจสอบในการยกเลิกรายการค่ารักษาพยาบาล
หรือการยกเลิกใบเสร็จ หรือเอกสารรับชำระต่าง ๆ
สามารถออกเอกสารประกอบในการแจ้งเบิกบริษัทประกันสังคม
หรือ สิทธิอื่นๆ ได้
เชื่อมโยงข้อมูลการฝากครรภ์จากระบบงาน
ANC
รองรับการบันทึกข้อมูลการคลอด รกคลอด และข้อมูลเด็กแรกเกิด
รองรับการเก็บข้อมูลเด็กเกิดมีชีพ และเสียชีวิตก่อนคลอด หรือขณะคลอดได้
ลงทะเบียนเด็กแรกเกิด พร้อมทั้งกำหนดหมายเลขประจำตัว (HN)
และหมายเลขประจำตัวผู้ป่วยในได้อัตโนมัติ
รองรับการส่งตรวจ
Lab, X-Ray
และติดตามผลตรวจได้จากระบบ
รองรับการบันทึกค่ารักษาพยาบาล รายการเวชภัณฑ์ ต่าง ๆ
เชื่อมเข้าสู่ระบบการเงินการสั่งยาโดยการดึงข้อมูลจากประวัติการใช้ยาเดิม
10. แผนกงานรังสีวินิจฉัย
(X-RAY) |
|
|
รองรับการส่งตรวจจากหน่วยงานภายในโรงพยาบาลและรองรับการบันทึกข้อมูลการส่งตรวจจากหน่วยงานนอกโรงพยาบาลได้จากระบบรังสีวิทยา
ระบบ
Security
ในการป้องกันข้อมูลการอ่านผลของแพทย์แต่ละท่าน
ระบบเวชระเบียนของฟิล์ม
X-Ray
ควบคุมการยืมฟิล์ม หรือการนำฟิล์มกลับบ้านของผู้ป่วย
ระบบการบันทึกข้อมูลการใช้ฟิล์ม ฟิล์มเสีย
พร้อมเหตุผลเพื่อควบคุมยอดคงเหลือของฟิล์ม
รองรับการเก็บผลงานของแพทย์อ่านผล และเจ้าหน้าที่
สถิติผลงานการให้บริการ ระยะเวลาในการให้บริการให้แผนกรังสีวิทยา
11.
แผนกห้องชันสูตร
(LABORATORY) |
|
|
รองรับการส่งตรวจจากหน่วยงานภายในโรงพยาบาลและรองรับการบันทึกข้อมูลการส่งตรวจจากหน่วยงานนอกโรงพยาบาลได้จากระบบงานห้องปฏิบัติการเอง
สามารถส่งผลตรวจ
online
กลับไปยังหน่วยงานอัตโนมัติ
ระบบการตรวจสอบและควบคุมการบันทึกข้อมูลการส่งตรวจ
ระบบการตรวจสอบ และแจ้งเตือนกรณีที่มีการส่งตรวจซ้ำซ้อน
ระบบการตรวจสอบให้ทำการบันทึก
Specimenสำหรับรายการ
Lab ที่ต้องจัดส่ง Specimen
ควบคู่กับการส่งตรวจ
กำหนดให้ใส่วันที่ส่งตรวจ สำหรับการส่งตรวจล่วงหน้า
ระบบ
Security
ในการสอบถามผล
มีระบบป้องกันการสอบถามผลตรวจที่ต้องการปิดปัง เช่น ผลตรวจ
HIV
ระบบการยืนยันผลตรวจ จากผู้มีอำนาจในการปล่อยผล
หมายเหตุ โมดูลการใช้งานทุกส่วน
สามารถปรับเปลี่ยนได้ให้เข้ากับการใช้งานของแต่ละโรงพยาบาล และ เพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้
|